ศิวลึงค์
วัสดุ : หินทราย
แบบศิลปะ : ศิลปะเขมรในประเทศไทย
อายุสมัย : อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 – 17 (ประมาณ 1,500 – 1,700 ปี)
ศิวลึงค์ คือองค์กำเนิดเพศชายที่เป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ หมายถึงการสร้างสรรค์ ความมั่งคั่ง ความเจริญรุ่งเรือง ในขณะเดียวกันก็หมายถึงตรีมูรติ (เทพเจ้า3 องค์ในศาสนาพราหมณ์) ด้วย โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
ส่วนล่าง เป็นรูปสี่เหลี่ยม เรียกว่า พรหมภาค หมายถึง พระพรหม
ส่วนกลาง เป็นรูปแปดเหลี่ยม เรียกว่า วิษณุภาค หมายถึง พระวิษณุ
ส่วนบน เป็นรูปกลม เรียกว่า รุทรภาค หมายถึง พระศิวะ
Shiva linga
Sandstone
Lopburi Art (Khmer Art in Thailand)
11th – 12th Century CE.
Shiva linga is the male origin symbolizing Lord Shiva Means creation, wealth, prosperity At the same time, it also means Trimurati (3 gods in Brahmanism), divided into 3 parts.
The lower part is a rectangle called the Brahma region, meaning Brahma.
The middle part is an octagon called Vishnu. It means Vishnu.
The upper part is a round shape, called the Raruphap, which means Shiva.